Header

ศูนย์หัวใจ

ศูนย์หัวใจ

บริการตรวจวินิจฉัยและรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือดหัวใจ กลุ่มอาการทางระบบหัวใจ ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด ทั้งผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก โดยทีมอายุรแพทย์โรคหัวใจ มีเครื่องมือและเทคโนโลยีหัวใจและทรวงอกที่ทันสมัย

การบริการและการรักษา

  • การฉีดสีสวนหัวใจ (Coronary Angiography : CAG)
  • การขยายหลอดเลือดหัวใจด้วยบอลลูนและขดลวด (Percutaneous Transluminal Coronary Angioplasty หรือ PTCA & Stent)
  • การใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจชนิดถาวร : (Permanent Pacemaker : PPM)
  • การใส่อุปกรณ์เข้าในร่างกายเพื่อตรวจจับสัญญาณไฟฟ้าในหัวใจ : AICD (Automated Implantable Cardioverter-Defibrillator)                                                      
  • การตรวจทางสรีรวิทยาไฟฟ้าหัวใจ : (Electrophysiology Study)  
  • การใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ : CRT / CRTD (Cardiac Resynchronization Therapy / Defibrillator)
  • การผ่าตัดไฟฟ้าหัวใจด้วยคลื่นความถี่วิทยุ (Radiofrequency Ablation) 
  • การผ่าตัดหัวใจ (Open Heart Surgery) มีแพทย์ CVT
  • ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiogram (EKG)
  • ตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (Echocardiography)
  • ตรวจภาวะเสี่ยงการอุดตันของหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (ABI)
  • บันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 24-48 ชั่วโมง (Holter Monitor)
  • ตรวจระบบประสาทอัตโนมัติ โดยการปรับระดับเตียง (Tilt Table Test)
  • Cardiac Catherization Lab
  • Electro Physiologic Study and Radiofrequency Ablation
  • Endocardial Lead Placement
  • ตรวจระบบประสาทอัตโนมัติ โดยการปรับระดับเตียง (Tilt Table Test)Tilt Table Test
  • บันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 24-48 ชั่วโมง (24-48 Hours Holter Monitor)
  • ตรวจภาวะเสี่ยงการอุดตันของหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (ABI) Ankle Brachial Index
  • ตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูงผ่านผนังหน้าอก - Echocardiogram (Echo)
  • ตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะออกกำลังกาย - Exercise Stress Test (EST)
  • ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการใช้ยา (Dobutamine stress echocardiogram)
  • ตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูงโดยการส่องกล้องผ่านหลอดอาหาร (Esophageal echocardiogram)
  • ตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูงเพื่อดูผนังหัวใจห้องบนรั่ว (Echocardiogram with saline bubble test)
  • Carotid Intima Media Thickness
  • Transthoracic Echocardiography (TTE)
  • Transesophageal Echocrdiography (TEE)

สถานที่

อาคาร 4 ชั้น 5

เวลาทำการ

09:00 - 17:00 น.

เบอร์ติดต่อ

055-90-9000 ต่อ 520101, 520102

(Percutaneous Transluminal Coronary Angioplasty หรือ PTCA & Stent)

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

แพทย์แนะนำ

ศูนย์หัวใจ

นพ.เดชชาติ เงินจันทร์

อายุรแพทย์โรคหัวใจ

ศูนย์หัวใจ

นพ.สุรพันธ์ พนมศักดิ์

อายุรแพทย์โรคหัวใจ

ศูนย์หัวใจ

นพ.ไพสิฐ โกสุม

อายุรแพทย์โรคหัวใจ

บทความที่เกี่ยวข้อง

‘ภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน’ ภัยเงียบที่มาพร้อมกับอายุที่มากขึ้น

ภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน (Sudden Cardiac Arrest) คือ ภาวะที่หัวใจทำงานผิดปกติ จนไม่มีการบีบตัวหรือหยุดเต้นทันที โดยไม่มีอาการเตือนล่วงหน้า

blank ดร.นพ.กิติกร วิชัยเรืองธรรม อายุรแพทย์โรคหัวใจ รพ. พิษณุเวช

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
‘ภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน’ ภัยเงียบที่มาพร้อมกับอายุที่มากขึ้น

ภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน (Sudden Cardiac Arrest) คือ ภาวะที่หัวใจทำงานผิดปกติ จนไม่มีการบีบตัวหรือหยุดเต้นทันที โดยไม่มีอาการเตือนล่วงหน้า

blank ดร.นพ.กิติกร วิชัยเรืองธรรม อายุรแพทย์โรคหัวใจ รพ. พิษณุเวช

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
การฉีดสีหลอดเลือดหัวใจ (Coronary Angiogram หรือ CAG)

การฉีดสีหลอดเลือดหัวใจ (Coronary Angiogram หรือ CAG) บางทีเรียก “การฉีดสี” เป็นการสอดสายสวนผ่านหลอดเลือดแดงแล้วฉีดสารทึบรังสีเพื่อตรวจวินิจฉัยการอุดตันและการตีบตันของหลอดเลือดหัวใจ หากพบความผิดปกติสามารถทำการรักษาต่อด้วยการทำบอลลูนและใส่ขดลวด

blank ดร.นพ. กิติกร วิชัยเรืองธรรม

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
การฉีดสีหลอดเลือดหัวใจ (Coronary Angiogram หรือ CAG)

การฉีดสีหลอดเลือดหัวใจ (Coronary Angiogram หรือ CAG) บางทีเรียก “การฉีดสี” เป็นการสอดสายสวนผ่านหลอดเลือดแดงแล้วฉีดสารทึบรังสีเพื่อตรวจวินิจฉัยการอุดตันและการตีบตันของหลอดเลือดหัวใจ หากพบความผิดปกติสามารถทำการรักษาต่อด้วยการทำบอลลูนและใส่ขดลวด

blank ดร.นพ. กิติกร วิชัยเรืองธรรม

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
การใส่เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ

การใส่เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ (Permanent Pacemaker) เป็นหัตถการทางการแพทย์เพื่อฝังอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เข้าไปในผนังหน้าอกใต้ผิวหนังเพื่อกระตุ้นจังหวะการเต้นของหัวใจ ช่วยแก้ไขจังหวะการเต้นของหัวใจที่เต้นช้าหรือการเต้นไม่สม่ำเสมอ โดยจะส่งสัญญาณไฟฟ้าไปยังหัวใจห้องที่ทำงานผิดปกติ เพื่อช่วยให้หัวใจเต้นเร็วพอที่จะสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายได้อย่างเพียงพอ

การใส่เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ

การใส่เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ (Permanent Pacemaker) เป็นหัตถการทางการแพทย์เพื่อฝังอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เข้าไปในผนังหน้าอกใต้ผิวหนังเพื่อกระตุ้นจังหวะการเต้นของหัวใจ ช่วยแก้ไขจังหวะการเต้นของหัวใจที่เต้นช้าหรือการเต้นไม่สม่ำเสมอ โดยจะส่งสัญญาณไฟฟ้าไปยังหัวใจห้องที่ทำงานผิดปกติ เพื่อช่วยให้หัวใจเต้นเร็วพอที่จะสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายได้อย่างเพียงพอ