Header

Banner Slider

Pitsanuvej Hospital

Giving To Human Community Society

Pitsanuvej Hospital

Giving To Human Community Society

mark

About Us

โรงพยาบาล พิษณุเวช

ผสาน

เพื่อรู้จัก เข้าใจ และสร้างสิ่งที่ดีให้กับชุมชน

โครงการมาลัยผ้าขาวม้า ผสาน รอยยิ้ม ชุมชนวัดห้วยรอบ ชุมชนที่ขับเคลื่อนด้วยวัฒนธรรมและการสืบทอดที่ไม่มีวันตาย

Medical center

ศูนย์การรักษา

ค้นหาศูนย์การรักษาตามอาการ

บริเวณที่มีอาการ

ศูนย์การรักษาตามอาการ

ศูนย์มะเร็งพิษณุเวชฮอไรซัน
ศูนย์หัวใจ
ศูนย์โรคระบบประสาทและสมอง
ศูนย์มะเร็งพิษณุเวช ฮอไรซัน

การผนึกกำลังครั้งสำคัญ โรงพยาบาลพิษณุเวช ร่วมกับ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ สู่เทคโนโลยีใหม่ทางการแพทย์ในการรักษา “มะเร็ง”

ดูเพิ่มเติม

ศูนย์หัวใจ ศูนย์หัวใจ

ดูแลหัวใจคุณให้แข็งแรง ด้วยหัวใจเรา

ดูเพิ่มเติม

ศูนย์โรคระบบประสาทและสมอง ศูนย์โรคระบบประสาทและสมอง

ศูนย์โรคระบบประสาทและสมอง รพ.พิษณุเวช ดูแลคุณด้วยหัวใจ

ดูเพิ่มเติม

orthopedic-center ศูนย์กระดูกและข้อ

บริการคำปรึกษา การตรวจวินิจฉัย และรักษาโรคทางกระดูกและข้อ กล้ามเนื้อ เส้นเอ็น เส้นประสาท โดยทีมแพทย์เฉพาะทาง อาทิ  ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู วิสัญญีแพทย์ รังสีแพทย์ พยาบาล นักกายภาพบำบัด นักกิจกรรมบำบัด ฯลฯ

ดูเพิ่มเติม

แพ็กเกจ/โปรโมชั่น

แพ็กเกจวัคซีนทางเลือกสำหรับเด็ก

ราคา 1,000.-

แพ็กเกจวัคซีนทางเลือกสำหรับผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ

ราคา 1,000.-/1,180.-

แพ็กเกจตรวจสุขภาพ

ราคา 2,490.-/3,585.-

แพ็กเกจตรวจสุขภาพก่อนไปทำงานต่างประเทศ

ราคา 1,790.-/3,400.-

บทความและข่าวสาร

โรคพาร์กินสัน (Parkinson's disease)

โรคพาร์กินสัน หรือรู้จักกันในชื่อโรค “สันนิบาต” เกิดจากความเสื่อมของเซลล์ประสาทบริเวณก้านสมอง ทำให้ผลิตสารสื่อประสาทโดพามีน ลดลง ซึ่งสารนี้มีความสำคัญในการควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ ส่งผลให้เกิดความผิดปกติของการเคลื่อนไหว โดยเฉลี่ยจำนวนประชากรไทยทั่วประเทศมีความชุกของโรคนี้ ร้อยละ 0.24 หรือประมาณ 770,000 ราย โรคนี้พบได้ในผู้สูงอายุบ่อยกว่าวัยหนุ่มสาว โดยมักเกิดในผู้ที่มีอายุมากกว่า 50 ปี

พญ.อาภากร เมืองแดง พญ.อาภากร เมืองแดง

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
โรคพาร์กินสัน (Parkinson's disease)

โรคพาร์กินสัน หรือรู้จักกันในชื่อโรค “สันนิบาต” เกิดจากความเสื่อมของเซลล์ประสาทบริเวณก้านสมอง ทำให้ผลิตสารสื่อประสาทโดพามีน ลดลง ซึ่งสารนี้มีความสำคัญในการควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ ส่งผลให้เกิดความผิดปกติของการเคลื่อนไหว โดยเฉลี่ยจำนวนประชากรไทยทั่วประเทศมีความชุกของโรคนี้ ร้อยละ 0.24 หรือประมาณ 770,000 ราย โรคนี้พบได้ในผู้สูงอายุบ่อยกว่าวัยหนุ่มสาว โดยมักเกิดในผู้ที่มีอายุมากกว่า 50 ปี

พญ.อาภากร เมืองแดง พญ.อาภากร เมืองแดง

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ไบโพลาร์ (bipolar disorder) หรือ โรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว

ไบโพลาร์ (Bipolar disorder) หรือ โรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว เป็นโรคที่มีความผิดปกติทางอารมณ์ จะมีลักษณะอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปมา ระหว่างอารมณ์ซึมเศร้า (major depressive episode) สลับกับช่วงอารมณ์ดี หรือคึกคักมากกว่าปกติ หรือ เมเนีย (mania หรือ hypomania) โดยอาการในแต่ละช่วงอาจเป็นอยู่นานเป็นสัปดาห์ หรือหลาย ๆ เดือนก็ได้ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่น การทำงาน การเรียน และการดูแลตนเอง ทำให้ไม่สามารถดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างเป็นปกติ จากการสำรวจในประชากรทั่วไป พบผู้เป็นโรคไบโพลาร์ได้สูงถึง 1.5-5% ของจำนวนประชากร มักพบได้บ่อยในช่วงอายุ 15-19 ปี และรองลงมาคืออายุ 20-24 ปี โดยกว่าครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยมีอาการครั้งแรกก่อนอายุ 20 ปี และยังมีโอกาสที่จะกลับมาเป็นซ้ำได้สูงถึง 70-90%

พญ.ทินารมภ์ ชัยพุทธานุกูล พญ.ทินารมภ์ ชัยพุทธานุกูล

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ไบโพลาร์ (bipolar disorder) หรือ โรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว

ไบโพลาร์ (Bipolar disorder) หรือ โรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว เป็นโรคที่มีความผิดปกติทางอารมณ์ จะมีลักษณะอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปมา ระหว่างอารมณ์ซึมเศร้า (major depressive episode) สลับกับช่วงอารมณ์ดี หรือคึกคักมากกว่าปกติ หรือ เมเนีย (mania หรือ hypomania) โดยอาการในแต่ละช่วงอาจเป็นอยู่นานเป็นสัปดาห์ หรือหลาย ๆ เดือนก็ได้ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่น การทำงาน การเรียน และการดูแลตนเอง ทำให้ไม่สามารถดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างเป็นปกติ จากการสำรวจในประชากรทั่วไป พบผู้เป็นโรคไบโพลาร์ได้สูงถึง 1.5-5% ของจำนวนประชากร มักพบได้บ่อยในช่วงอายุ 15-19 ปี และรองลงมาคืออายุ 20-24 ปี โดยกว่าครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยมีอาการครั้งแรกก่อนอายุ 20 ปี และยังมีโอกาสที่จะกลับมาเป็นซ้ำได้สูงถึง 70-90%

พญ.ทินารมภ์ ชัยพุทธานุกูล พญ.ทินารมภ์ ชัยพุทธานุกูล

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
วัณโรค

วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis ส่วนใหญ่จะทำให้เกิดวัณโรคปอด แต่วัณโรคยังเกิดกับอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายได้ เช่น ต่อมน้ำเหลือง กระดูกสันหลัง ข้อ ลำไส้ ไต เยื่อหุ้มสมอง

นพ.ศราวุฒิ มากล้น นพ.ศราวุฒิ มากล้น

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
วัณโรค

วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis ส่วนใหญ่จะทำให้เกิดวัณโรคปอด แต่วัณโรคยังเกิดกับอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายได้ เช่น ต่อมน้ำเหลือง กระดูกสันหลัง ข้อ ลำไส้ ไต เยื่อหุ้มสมอง

นพ.ศราวุฒิ มากล้น นพ.ศราวุฒิ มากล้น

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

04 เมษายน 2567

นพ.วิชญเวทย์ รักษ์กุลชน ผู้อำนวยการโรงพยาบาลพิษณุเวช พร้อมทีม ร่วมแสดงความเสียใจในงานสวดพระอภิธรรมนายชาญชัย วิวัฒน์ธนาฒย์ บิดาของนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก

นายแพทย์วิชญเวทย์ รักษ์กุลชน ผู้อำนวยการโรงพยาบาลพิษณุเวช ในเครือพริ้นซิเพิล เฮลท์แคร์ พร้อมด้วยนายแพทย์วีรพล ราชคำ ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงพยาบาลและทีมบริหาร ร่วมแสดงความเสียใจในงานสวดพระอภิธรรมนายชาญชัย วิวัฒน์ธนาฒย์ บิดานายมนต์ชัย วิวัฒน์ธนาฒย์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก พร้อมมอบเงินสมทบร่วมทำบุญที่จะนำไปมอบให้รพ.พุทธชินราช เพื่อการประโยชน์ต่อไป 3 เมษายน 2567 มูลนิธิประสาทบุญสถาน

04 เมษายน 2567

นพ.วิชญเวทย์ รักษ์กุลชน ผู้อำนวยการโรงพยาบาลพิษณุเวช พร้อมทีม ร่วมแสดงความเสียใจในงานสวดพระอภิธรรมนายชาญชัย วิวัฒน์ธนาฒย์ บิดาของนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก

นายแพทย์วิชญเวทย์ รักษ์กุลชน ผู้อำนวยการโรงพยาบาลพิษณุเวช ในเครือพริ้นซิเพิล เฮลท์แคร์ พร้อมด้วยนายแพทย์วีรพล ราชคำ ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงพยาบาลและทีมบริหาร ร่วมแสดงความเสียใจในงานสวดพระอภิธรรมนายชาญชัย วิวัฒน์ธนาฒย์ บิดานายมนต์ชัย วิวัฒน์ธนาฒย์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก พร้อมมอบเงินสมทบร่วมทำบุญที่จะนำไปมอบให้รพ.พุทธชินราช เพื่อการประโยชน์ต่อไป 3 เมษายน 2567 มูลนิธิประสาทบุญสถาน

04 เมษายน 2567

พิษณุเวช จัดกิจกรรมทบทวนการฝึกปฏิบัติ CPR การช่วยชีวิตสำหรับเด็กตามมาตรฐานการช่วยชีวิตในห้องผ่าตัดและหอพักผู้ป่วย ในกรณีเกิด Code Blue

เป็นเลิศด้านมาตรฐานการดูแลรักษาชีวิต โรงพยาบาลพิษณุเวช ในเครือพริ้นซิเพิล เฮลท์แคร์ จัดทบทวนการฝึกปฏิบัติ CPR การช่วยชีวิตสำหรับเด็กตามมาตรฐานการช่วยชีวิตในห้องผ่าตัดและหอพักผู้ป่วย ในกรณีเกิด Code Blue ขึ้นในรพ. เพื่อให้เจ้าหน้าที่ทุกคนพร้อมปฏิบัติตามมาตรฐานในการช่วยรักษาชีวิตแก่ผู้ป่วยทุกท่านทันท่วงที

04 เมษายน 2567

พิษณุเวช จัดกิจกรรมทบทวนการฝึกปฏิบัติ CPR การช่วยชีวิตสำหรับเด็กตามมาตรฐานการช่วยชีวิตในห้องผ่าตัดและหอพักผู้ป่วย ในกรณีเกิด Code Blue

เป็นเลิศด้านมาตรฐานการดูแลรักษาชีวิต โรงพยาบาลพิษณุเวช ในเครือพริ้นซิเพิล เฮลท์แคร์ จัดทบทวนการฝึกปฏิบัติ CPR การช่วยชีวิตสำหรับเด็กตามมาตรฐานการช่วยชีวิตในห้องผ่าตัดและหอพักผู้ป่วย ในกรณีเกิด Code Blue ขึ้นในรพ. เพื่อให้เจ้าหน้าที่ทุกคนพร้อมปฏิบัติตามมาตรฐานในการช่วยรักษาชีวิตแก่ผู้ป่วยทุกท่านทันท่วงที

04 เมษายน 2567

พิษณุเวช จัดอบรม Equipment Clinical Alarm Management ตามมาตรฐาน COP-Care of patient

มาตรฐานการดูแลที่เป็นเลิศเพื่อการดูแลรักษาชีวิต โรงพยาบาลพิษณุเวช ในเครือพริ้นซิเพิล เฮลท์แคร์ จัดอบรม Equipment Clinical Alarm Management ตามมาตรฐาน COP-Care of patient เพื่อให้เครื่องมือทางการแพทย์พร้อมใช้งานในทุกนาทีการดูแลชีวิต เพราะหากเครื่องมือทางการแพทย์ที่สำคัญต่อการรักษาการช่วยชีวิตเกิดการ Alarm เจ้าหน้าที่พยาบาลต้องตรวจสอบ ตรวจเช็คประเมินเครื่องมือ และอาการผู้ป่วย เพื่อรายงานแพทย์ให้ทราบทันที และสิ่งสำคัญจะต้องเซ็ตอุปกรณ์ต่างๆให้เหมาะสมกับผู้ป่วยเฉพาะราย

04 เมษายน 2567

พิษณุเวช จัดอบรม Equipment Clinical Alarm Management ตามมาตรฐาน COP-Care of patient

มาตรฐานการดูแลที่เป็นเลิศเพื่อการดูแลรักษาชีวิต โรงพยาบาลพิษณุเวช ในเครือพริ้นซิเพิล เฮลท์แคร์ จัดอบรม Equipment Clinical Alarm Management ตามมาตรฐาน COP-Care of patient เพื่อให้เครื่องมือทางการแพทย์พร้อมใช้งานในทุกนาทีการดูแลชีวิต เพราะหากเครื่องมือทางการแพทย์ที่สำคัญต่อการรักษาการช่วยชีวิตเกิดการ Alarm เจ้าหน้าที่พยาบาลต้องตรวจสอบ ตรวจเช็คประเมินเครื่องมือ และอาการผู้ป่วย เพื่อรายงานแพทย์ให้ทราบทันที และสิ่งสำคัญจะต้องเซ็ตอุปกรณ์ต่างๆให้เหมาะสมกับผู้ป่วยเฉพาะราย

รางวัลและมาตรฐานการรับรอง