Header

แผนกอายุรกรรม

อายุรกรรม

แผนกอายุรกรรม ดูแลคุณอะไร/อย่างไรบ้าง?

หลายท่านน่าจะเคยได้ยินหรือคุ้นหู กับคำว่า “อายุรกรรม” หรืออาจสงสัยเวลาที่เจ็บป่วย ไม่สบาย ทุกครั้งที่มาหาหมอที่โรงพยาบาล ก็จะได้รับคำแนะนำให้ไปหาหมอที่แผนกอายุรกรรม แล้ว “อายุรกรรม” รักษาโรคเกี่ยวกับอะไรบ้าง นอกจาก ปวดหัว ตัวร้อน เจ็บคอ ท้องเสีย กลุ่มโรคต่อไปนี้ที่โรงพยาบาลของเราพร้อมรักษาและมีคุณหมอคอยดูแลและสามารถวินิจฉัยและรักษาคุณได้







 

สถานที่

อาคาร 4 ชั้น 1

เวลาทำการ

07:00 - 22:00 น.

เบอร์ติดต่อ

055-90-9000 ต่อ 520101 และ 520102

บริการตรวจรักษา

  • โรคของต่อมไร้ท่อ ความผิดปกติของการหลั่งฮอร์โมน
  • เบาหวาน
  • โรคของต่อมไทรอยด์
  • ความผิดปกติของการเจริญเติบโต, ความผิดปกติของเข้าวัยหนุ่มสาว
  • คัดกรองความเสี่ยง 
  • ตรวจวินิจฉัย รักษา
  • ประเมินภาวะแทรกซ้อน
  • ให้คำปรึกษาการใช้ยาเบาหวาน
  • ให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ

  • โรคข้อรูมาตอยด์ (Rhumatiod)
  • เก๊าท์ (Gout)
  • โรคระบบภูมิคุ้มกันทำลายตนเอง (SLE)

  • โรคติดเชื้อ

บริการตรวจรักษา

  • ภูมิแพผิวหนัง ลมพิษ
  • ภูมิแพ้โพรงจมูกอักเสบ ไซนัส หอบหืด แพ้อากาศ
  • แพ้ยา แพ้อาหาร
  • รักษาภูมิแพ้ด้วยวัคซีนภูมิแพ้
  • ค้นหาสาเหตุการแพ้ ทดสอบภูมิแพ้ผิวหนังเจาะเลือดตรวจภูมิ
     

  • ส่องกล้องหลอดลม (Bronchoscopy)
  • ตรวจภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ (Sleep Test)
  • ตรวจคัดกรองมะเร็งปอดด้วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ปริมาณรังสีต่ำ (Low-Dose CT)
  • การตรวจสมรรถภาพปอด Pulmonary Function Testing (PFT)

  • โลหิตจาง (Anemia)
  • โลหิตจางธาลัสซีเมีย (Thalassemia)
  • โรคเกี่ยวกับการสร้างเม็ดเลือดแดงที่ผิดปกติ
  • มะเร็งเม็ดเลือดขาว

  • โรคไต, ไตวายเฉียบพลันและเรื้อรัง

ตรวจวินิจฉัย รักษาและให้คำปรึกษาผู้ป่วยเกี่ยวกับโรคทางหู คอ จมูก และโรคระบบทางเดินหายใจ รวมถึงการผ่าตัดโรคที่ซับซ้อน

  • โรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้
  • ผ่าตัดโพรงจมูก ผนังกั้นจมูกและไซนัส ด้วยกล้อง Endoscope
  • ผ่าตัดไทรอยด์
  • ผ่าตัดทอนซิล
  • รักษาการสูญเสียการได้ยินและการทรงตัว
  • รักษาอาการหยุดหายใจขณะนอนหลับ (Sleep Test)
  • ความผิดปกติด้านการนอน
  • เสียงแหบ
  • ตรวจรักษาในรายที่มีปัญหาเกี่ยวกับการได้ยิน ให้บริการตรวจการได้ยินด้วยเครื่องมือพิเศษ (Audiogram)

ให้บริการตรวจวินิจฉัย และ รักษาอาการปวดศีรษะจากสาเหตุต่างๆ

  • ไมเกรน
  • ปวดตึงกล้ามเนื้อ
  • โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
  • ก้อนเนื้องอกในสมอง
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

แพทย์แนะนำ

แผนกอายุรกรรม

แผนกอายุรกรรม

พญ.ฐิติมา คันธชาติวนิช

อายุรแพทย์โรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกันวิทยา

แผนกอายุรกรรม

พญ.สาวิกา กิจสมบูรณ์

อายุรแพทย์โรคต่อมไร้ท่อและเมตะบอลิสม

บทความที่เกี่ยวข้อง

18 มิถุนายน 2567

โรคเก๊าต์

โรคเก๊าต์ เป็นโรคข้อซึ่งเกิดจากภาวะกรดยูริกในเลือดสูงเป็นระยะเวลานานจนตกตะกอน ทำให้เกิดโรคข้ออักเสบ ซึ่งโรคนี้รักษาหายขาดได้ หากได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องเหมาะสมและต่อเนื่อง

blank โรงพยาบาลพิษณุเวช

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

18 มิถุนายน 2567

โรคเก๊าต์

โรคเก๊าต์ เป็นโรคข้อซึ่งเกิดจากภาวะกรดยูริกในเลือดสูงเป็นระยะเวลานานจนตกตะกอน ทำให้เกิดโรคข้ออักเสบ ซึ่งโรคนี้รักษาหายขาดได้ หากได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องเหมาะสมและต่อเนื่อง

blank โรงพยาบาลพิษณุเวช

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ภาวะวูบหมดสติ สัญญาณโรคร้าย ส่งผลต่อร่างกายไม่ควรมองข้าม | โรงพยาบาลพิษณุเวช

เป็นอาการสูญเสียความรู้สึกตัว และการทรงตัวชั่วคราว โดยทั่วไปเกิดจากเลือดไปเลี้ยงสมองลดลงชั่วขณะ ทำให้สมองขาดออกซิเจนชั่วคราวจะมีลักษณะอาการเฉพาะ คือ หมดสติเฉียบพลัน เกิดขึ้นชั่วขณะในระยะเวลาอันสั้นและสามารถฟื้นคืนสติเองได้

blank โรงพยาบาลพิษณุเวช

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ภาวะวูบหมดสติ สัญญาณโรคร้าย ส่งผลต่อร่างกายไม่ควรมองข้าม | โรงพยาบาลพิษณุเวช

เป็นอาการสูญเสียความรู้สึกตัว และการทรงตัวชั่วคราว โดยทั่วไปเกิดจากเลือดไปเลี้ยงสมองลดลงชั่วขณะ ทำให้สมองขาดออกซิเจนชั่วคราวจะมีลักษณะอาการเฉพาะ คือ หมดสติเฉียบพลัน เกิดขึ้นชั่วขณะในระยะเวลาอันสั้นและสามารถฟื้นคืนสติเองได้

blank โรงพยาบาลพิษณุเวช

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
โรคพาร์กินสัน อาการและการรักษา

โรคพาร์กินสัน หรือรู้จักกันในชื่อโรค “สันนิบาต” เกิดจากความเสื่อมของเซลล์ประสาทบริเวณก้านสมอง ทำให้ผลิตสารสื่อประสาทโดพามีน ลดลง ซึ่งสารนี้มีความสำคัญในการควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ ส่งผลให้เกิดความผิดปกติของการเคลื่อนไหว โดยเฉลี่ยจำนวนประชากรไทยทั่วประเทศมีความชุกของโรคนี้ ร้อยละ 0.24 หรือประมาณ 770,000 ราย โรคนี้พบได้ในผู้สูงอายุบ่อยกว่าวัยหนุ่มสาว โดยมักเกิดในผู้ที่มีอายุมากกว่า 50 ปี

blank โรงพยาบาลพิษณุเวช

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
โรคพาร์กินสัน อาการและการรักษา

โรคพาร์กินสัน หรือรู้จักกันในชื่อโรค “สันนิบาต” เกิดจากความเสื่อมของเซลล์ประสาทบริเวณก้านสมอง ทำให้ผลิตสารสื่อประสาทโดพามีน ลดลง ซึ่งสารนี้มีความสำคัญในการควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ ส่งผลให้เกิดความผิดปกติของการเคลื่อนไหว โดยเฉลี่ยจำนวนประชากรไทยทั่วประเทศมีความชุกของโรคนี้ ร้อยละ 0.24 หรือประมาณ 770,000 ราย โรคนี้พบได้ในผู้สูงอายุบ่อยกว่าวัยหนุ่มสาว โดยมักเกิดในผู้ที่มีอายุมากกว่า 50 ปี

blank โรงพยาบาลพิษณุเวช

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม